Dashboard ผู้ได้รับประโยชน์จากโมเดลแก้จนเกษตรมูลค่าสูง

ระบบรายงานข้อมูล ผู้ได้รับประโยชน์จากโมเดลแก้จนเกษตรมูลค่าสูง


ข้อมูลเมื่อ เดือน ธ.ค. 2566 โครงการพัฒนาระบบห่วงโซ่การผลิตเกษตรมูลค่าสูง ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


ระบบข้อมูลครัวเรือนยากจนระดับพื้นที่ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและจัดกลุ่มครัวเรือน เพื่อดูความหนาแน่นของปัญหา ตามเส้นแบ่งความยากจน (Poverty Line , 2563) ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

  • ระดับ 1 กลุ่มมีรายได้น้อยกว่าเส้นความยากจน (<2,762 บาท/คน/เดือน) 
  • ระดับ 2 กลุ่มมีรายได้มากกว่าเส้นความยากจนน้อยกว่า 40% ที่จนที่สุด (2,763 - 5,346 บาท/คน/เดือน)
  • ระดับ 3 กลุ่มมีรายได้มากกว่า 40 % ที่จนที่สุดน้อยกว่าเส้นมัธยฐาน (5,347 - 6,531 บาท/คน/เดือน)
  • ระดับ 4 กลุ่มที่มีรายได้มากกว่าเส้นมัธยฐาน (>=6,532 บาท/คน/เดือน)

พัฒนาโดย : สมชาย เครือคำ (แตงโม สกลนคร)
ดำเนินการ : โครงการการพัฒนากระบวนการเพิ่มรายได้เกษตรกรด้วยระบบการผลิตเกษตรมูลค่าสูง ฯ ปี 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ติดตามได้ที่ blogOnepoverty และ blockdit และ Facebook
แหล่งทุนวิจัย : หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ติดตามได้ที่ งานยุทธศาสตร์ขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำ

    version 1 อัปเดท ธ.ค. 2566

{fullWidth}
แสดงความคิดเห็น (0)
ใหม่กว่า เก่ากว่า